พิมพ์

 

ข้อมูลจังหวัดชายทะเล


              ประเทศไทยมีจังหวัดที่มีพื้นที่ทะเลทั้งหมด 23 จังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดทางฝั่งอันดามัน 6 จังหวัด และฝั่งอ่าวไทย 17 จังหวัด จังหวัดที่มีชายฝั่งทะเลยาวที่สุด คือ จังหวัดชุมพร ซึ่งมีชายฝั่งทะเลยาวถึง 248.33 กิโลเมตร ส่วนจังหวัดที่มีชายฝั่งทะเลสั้นที่สุด คือ กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีชายฝั่งทะเลยาวเพียง 7.11 กิโลเมตร อยู่ในเขตบางขุนเทียน รายละเอียดเพิ่มเติมแสดงดังตารางด้านล่าง


จังหวัดติดทะเล
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความยาวชายฝั่ง
(กม.)
จำนวนเกาะ

ประชากร
(คน)

จำนวนครัวเรือน
ประมง*
ภาคตะวันออก
ตราด**
2,819.00
178.19
66
229,380
3,296
จันทบุรี
6,338.00
104.04
19
532,466
4,243
ระยอง
3,552.00
105.61
16
711,236
921
ชลบุรี
4,363.00
170.16
47
1,509,125
504
ฉะเชิงเทรา
5,351.00
16.56
1
709,889
541
ภาคกลาง
สมุทรปราการ
1,004.09
57.39
0
1,310,766
1,227
กรุงเทพมหานคร
1,568.74
7.11
0
5,682,415
1,305
สมุทรสาคร
872.35
42.04
0
568,465
1,719
สมุทรสงคราม
416.70
24.23
0
193,902
1,455
เพชรบุรี
6,225.14
89.72
0
482,375
1,756
ประจวบคีรีขันธ์
6,367.62
246.83
23
543,979
2,274
ภาคใต้
ชุมพร
6,010.00
248.33
54
509,650
3,281
สุราษฎร์ธานี
12,891.47
157.17
108
1,057,581
3,875
นครศรีธรรมราช
9,942.50
236.82
9
1,557,482
6,260
พัทลุง
3,424.47
353.36***
18
524,857
1,212
สงขลา
7,393.89
158.53
6
1,424,230
3,051
ปัตตานี
1,940.36
140.03
4
709,796
987
นราธิวาส
4,475.43
57.02
3
796,239
2,527
ระนอง
3,298.05
172.51
56
190,399
6,606
พังงา
4,170.90
235.78
155
267,491
115
ภูเก็ต
543.03
202.83
37
402,017
3,361
กระบี่
4,708.51
203.79
154
469,769
1,212
ตรัง
4,917.52
135.03
54
643,072
3,042
สตูล
2,478.98
161.38
106
319,700
4,222
รวม
101,678.27
3,151.10
936
20,821,424
57,780

 

หมายเหตุ : *ข้อมูลจำนวนครัวเรือนประมงล่าสุด ณ ปี 2556 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ. กระทรวง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2556)

   **จังหวัดตราด มีพื้นที่เขตปกครองทางทะเล 7,257.00 ตร.กม.

   ***พื้นที่ทะเลสาบสงขลา

 

คลิกที่ชื่อจังหวัดเพื่อดูข้อมูล

 

นราธิวาส นราธิวาส จันทบุรี จันทบุรี ชลบุรี > ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ตราด ตราด สมุทรปราการ สมุทรปราการ เขตบางขุนเทียน, กทม. เขตบางขุนเทียน, กทม. สมุทรสาคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม เพชรบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ชุมพร ระนอง ระนอง พังงา พังงา ภูเก็ต ภูเก็ต กระบี่ กระบี่ สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช ตรัง ตรัง สตูล สตูล สงขลา สงขลา ปัตตานี ปัตตานี ระยอง ระยอง จันทบุรี นราธิวาส ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ เขตบางขุนเทียน, กทม. ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี สงขลา สมุทรสาคร สตูล นครศรีธรรมราช ชุมพร ตรัง พังงา ปัตตานี ประจวบคีรีขันธ์ กระบี่ ระนอง เพชรบุรี สมุทรสงคราม ตราด

 

บล

 

ที่มา :

กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/041/22.PDF 2561. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2561. 

กรมการปกครอง.การปกครองส่วนภูมิภาค. "จังหวัดของประเทศไทย." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก จังหวัดของประเทศไทย สืบค้น มีนาคม 2561

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. กองแผนศูนย์สารสนเทศ. "เกาะในประเทศไทย." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://km.dmcr.go.th/th/category?cat=52. สืบค้น 28 มีนาคม 2561

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. "รายงานรวบรวมข้อมูลฐานข้อมูลกัดเซาะชายฝั่งรายจังหวัด ๒๓ จังหวัด."[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.dmcr.go.th/detailLib/2394/. สืบค้น 20 มีนาคม 2561

กลุ่มวิจัยและวิเคราะห์สถิติประมง. กองนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประมง. กรมประมง. "สถิติประมงแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558."[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://www.fisheries.go.th/strategystat/themeWeb/books/2558/1/yearbook2558_Rev060960.pdf. สืบค้น 26 มีนาคม 2561
   
ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 20 มีนาคม 2561.